Fundamental immunology

Week 1: Introduction to Immunology

Immunology

คือ การศึกษาเกี่ยวกับการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ที่
เกี่ยวกับเซลล์และโมเลกุลต่างๆ ต่อจุลชีพและสิ่งแปลกปลอม

องค์ประกอบของระบบภูมิคุ้มกัน

ด่านป้องกัน (Barrier)

เซลล์ (Immune cells)

สารน้ำ
(Humoral substance)

อวัยวะ (Organs)

เนื้อเยื่อ (Lymphoid tissue)

หน้าที่ของระบบภูมิคุ้มกัน

Defense

r

ป้องกันร่างกายจากสิ่งแปลกปลอมและจุลชีพ

Surveillance

r

ตรวจตราเซลล์ที่ผิดปกติในร่างกาย

Homeostasis

r

ทำลายเซลล์ที่หมดอายุเสื่อมสภาพในร่างกายออกไป

Evolution of the immune system

Phylogeny

ระบบภูมิคุ้มกันมีวิวัฒนาการมาตามลำดับ ตั้งแต่สัตว์ชั้นต่ำจนถึงสัตว์ชั้นสูง

สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

r

ระบบภูมิคุ้มกันในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังมีเพียงเซลล์และสารน้ำแบบไม่จำเพาะ (Innate immunity) เท่านั้น

สัตว์มีกระดูกสันหลัง

r

ในสัตว์มีกระดูกสันหลังจะมีวิวัฒนาการของระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่จำเพาะและแบบจำเพาะตามลำดับ ในปลา Hagfish and Lampreys จะยังไม่มีการ สร้างเนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน เช่น ต่อมไธมัสและม้าม แต่ในปลาที่มีวิวัฒนาการสูงขึ้นอย่าง ฉลาม (Shark) หรือ กระเบน (Rays) จะมีต่อมไธมัสและม้าม และพบการสร้าง แอนติบอดีหนึ่งชนิดคือ IgM ในปลาชนิดอื่นๆ (Teleosts) ก็เช่นเดียวกัน ชนิดของแอนติบอดีจะพบมากขึ้นในสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ (Amphibians) สัตว์เลื้อยคลาน (Reptile) สัตว์ปีก (Birds) และสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยนม (Mammal) 

พัฒนาการของ Lymphocyte

1.common lymphoid progenitor

r

เซลล์ต้นกำเนิด (common lymphoid progenitor ) จะเจริญแยกสาย (commitment) ไปเป็นเซลล์ตั้งต้นของลิมโฟซัยต์แต่ละสาย คือ B, T และ NK cells

2.rearrangement

r

มีการจัดเรียงยีน (rearrangement) ที่สร้างโปรตีนซึ่งจะเป็นที่รับกับแอนติเจน (antigen receptor)

3.selection process

r

มีการคัดเลือกเซลล์ (selection process) ที่มีantigen receptor ซึ่งผ่านการทดสอบว่าทำหน้าที่ได้สมบูรณ์และกำจัดเซลล์ที่ไม่สมบูรณ์ออกไป

4.progenitor, committed cells

r

มีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนของเซลล์ต้นกำเนิด (progenitor, committed cells) เพื่อให้มีจำนวนเซลล์ที่ถูกคัดเลือกเพียงพอ 

5.maturation

r

การเจริญเติบโตเป็นตัวแก่ (maturation) ของ B และ T lymphocyte

การทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน

1.Self and Non-Self discrimination

2.ระบบภูมิคุ้มกันเป็นการทำงานร่วมกันของ innateและ adaptive immune system ไม่สามารถแยกออกจากกันได้

3.เซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันทั้ง Innate immunity และ Adaptive immunity ต้องอาศัย Receptor

r

receptor ซึ่งเป็นโปรตีนที่พบได้ทั้งภายในไซโตพลาสมและบนเซลล์เมมเบรน มีหลายประเภท ทำหน้าในการรับรู้(Recognize) สิ่งแปลกปลอมและจุลชีพที่แตกต่างกันได้

innate immunity

Toll like receptor (TLR)

Scavenger receptor

Manose receptor
(MR)

Dectin

adaptive immunity

T cell receptor (TCR)

B cell recptor (BCR)

4.Diversity and Gene rearangement

r

T cell receptor (TCR) และ B cell recptor (BCR) แต่ละโมเลกุลเป็นสายโปรตีนซึ่ง ประกอบด้วยกรดอะมิโนที่มีความแตกต่างกัน ทำให้เกิดเป็นโครงสร้างที่แตกต่างกันจำนวนมหาศาล ซึ่งแต่ละโมเลกุลจะจำเพาะกับแอนติเจนที่แตกต่างกัน ความแตกต่างของโครงสร้างนี้เรียกว่าเป็นความ หลากหลายของรีเซพเตอร์ (Diversity) ซึ่งถูกกำหนดหรือสร้างไว้ก่อนแล้วที่จะพบกับแอนติเจนหรือ สิ่งแปลกปลอม โดยกระบวนการจัดเรียงยีน (Gene rearangement) ที่ควบคุมการสร้างโมเลกุล ของรีเซพเตอร์นั้นๆ

5.Clone and clonal selection

r

B lymphocyte และ T lymphocyte จะมี BCR หรือ TCR แบบใดแบบหนึ่งเท่านั้น เรียกว่าโคลน (Clone) เมื่อมีจุลชีพเข้ามาในร่างกาย B lymphocyte และ T lymphocyte ที่มีรีเซพ เตอร์ที่จำเพาะกับแอนติเจนของจุลชีพนั้น จะถูกเลือกออกมาให้ทำหน้าที่ในการตอบโต้หรือตอบสนอง (Response) กระบวนการเลือกเซลล์โคลนที่จำเพาะต่อแอนติเจนมาตอบสนองนี้เรียกว่า Clonal selection 

6.ความจำ (Memory)

r

การทำงานของลิมโฟไซต์ หรือ Adaptive Immunity มีคุณสมบัติที่สำคัญประการหนึ่งคือ ความจำ(Memory) ลิมโฟไซต์ทั้ง B lymphocyte และ T lymphocyte เมื่อเคยได้ต่อสู้กับสิ่งแปลกปลอม (แอนติเจน) ชนิดใดชนิดหนึ่งแล้วจะมีการสร้างเซลล์ที่เรียกว่า Memory cell เก็บไว้ เพื่อว่าหากมีแอนติเจนชนิดเดิมเข้ามาอีกครั้งจะทำการตอบโต้ได้อย่างรวดเร็ว ไม่เสียเวลารอในขั้นตอน การกระตุ้นเซลล์ กล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นความเข้าใจง่ายๆ ว่า ร่างกายมีภูมิคุ้มกันแล้วนั่นเอง 

7.Immune regultion

r

การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันซึ่งประกอบด้วยเซลล์และสารน้ำชนิดต่างๆ ที่มีความซับซ้อนมากๆ จำเป็นต้องมีการควบคุมที่เหมาะสม (Immune regultion) โดยการทำงานของไซโตไคน์ ฮอร์โมนและเซลล์ในกลุ่ม Regulatory cell เช่น Treg หากไม่มีการควบคุมที่เหมาะสม อาจเกิด ภาวะการตอบสนองมากเกินต้องการส่งผลให้เกิดพยาธิสภาพเกิดขึ้นในร่างกายได

Innate immunity และ adaptive immunity

1. Innate Immunity

r

เป็นกลไกที่มีในร่างกายก่อนที่จะพบกับจุลชีพหรือแอนติเจน ดังนั้น สามารถทำงานได้ทันที มีความสามารถในการจำแนกสิ่งแปลกปลอมกับเนื่อเยื่อของตนเอง (Discrimination of self from non-self) แต่ความหลากหลายต่อจุลชีพหรือแอนติเจนจะจำกัด(Limited diversity) เนื่องจากจะจำเพาะกับองค์ประกอบร่วมของจุลชีพ (Pathogen associated molecular pattern; PAMPs) และไม่มีความสามารถจดจำ (memory) จุลชีพหรือแอนติเจนเดิมที่ เข้ามาในร่างกายครั้งหลัง

Barrier

Phagocytic cells

Natural killer (NK) cells

Dendritic cell

Humoral substance

Complement

Aacute phase protein

Cytokine and Interferon

2. Adaptive Immunity

r

ประกอบด้วยเซลล์ lymphocyte และผลิตภัณฑ์ (Products) ซึ่งได้แก่เซลล์คือ T-lymphocytes, B-lymphocytes และสารน้ำคือ แอนติบอดี ไซโตไคน์

1.ไม่ทำปฏิกิริยากับแอนติเจนของตัวเอง (Non reactivity to self)

2.มีความจำเพาะ (Specificity)

3.มีการจดจำา (Memory)

4.มีความหลากหลาย (Diversity)

5.มีการปรับเปลี่ยนการตอบสนองไปตามชนิดของแอนติเจน (Adaptiveness or Specialization)

6.มีการควบคุมปริมาณการตอบสนอง (Self limitation/Cotraction and Homeostasis)

7.มีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนของ lymphocyte (Clonal expansion)

ชนิดของภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะ (Type of adaptive immune response)

1. ภูมิคุ้มกันด้านสารน้ำ (Humoral immune response; HIR)

ประกอบด้วย แอนติบอดี
ที่สร้างจาก B- lymphocytes

2. ภูมิคุ้มกันชนิดพึ่งเซลล์ (Cell-mediated immune response; CMIR) หรือ Cellular immunity

ประกอบด้วยการทำงานของเม็ดเลือดขาวชนิด T-lymphocytes

Cytotoxic T lymphocyte (CTLs)

T helper (Th) cells

Week 2: Cells and organs of the immune system

Hematopoiesis

Extramedullary hematopoiesis

Intramedullary hematopoiesis

ขั้นตอนการสร้างเม็ดเลือด

Proliferation

Maturation

Differentiation

Myeloid lineage

Phagocytic cell

Neutrophil

Mononuclear phagocytes

monocyte

Macrophage

Dendritic cells

r

Professional antigen presenting cells

Eosinophil

Basophil

Mast cells

Lymphoid linages

B-lymphocyte

T-lymphocyte

Helper T- lymphocyte (Th)

T cytotoxic
lymphocyte (CTL)

Regulatory T lymphocyte (Treg)

Memory lymphocyte

Natural killer (NK) cell

Lymphoid organs and Lymphoid tissues

1. Primary lymphoid organ

Bone marrow

Thymus

2. Secondary lymphoid organs

Spleen

Red pulp

r

Red pulp ประกอบด้วยเส้นเลือดขนาดเล็ก (Blood sinusoid) และมีเซลล์หลายชนิด เช่น แมคโครฟาจ แกรนูโลไซต์ลิมโฟไซต์และพลาสมาเซลล์

White pulp

r

ประกอบด้วย Lymphoid tissue ที่เรียงตัวรอบๆ Central artery เรียกว่า Periarteriolar lymphoid sheath (PALS)

Lymph node and lymphatic system

Mucosal immune system

Mucosal-Associated lymphoid tissue (MALT)

r

เนื้อเยื่อของระบบภูมิคุ้มกันบริเวณผิวเยื่อบุ พบในทางเดินอาหารและระบบ ทางเดินหายใจจะเป็นที่อยู่ของลิมโฟไซต์และ APC ที่จะกำจัดแอนติเจนที่เข้ามาทางการกิน (Ingested antigen) และทางการหายใจ (Inhaled antigen) เยื่อบุจะเป็นด่านป้องกันระหว่างสิ่งแวดล้อมภายนอก กับเนื้อเยื่อภายในที่จะเป็นช่องทางการเข้าสู่ร่างกายของจุลชีพและสิ่งแปลกปลอม เรียกเนื้อเยื่อบริเวณ ระบบทางเดินหายใจเรียกว่า Nasopharyngeal associated lymphoid tissue (NALT) บริเวณทางเดิน อาหารเรียกว่า Gut associated lymphoid tissue (GALT)

ทอนซิล (Tonsil) และต่อมอดีนอยด์ (Adenoid)

Peyer’s patches

Cutaneous Immune system

Cutaneous associated lymphoid tissue

r

ผิวหนังเป็นอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย เป็นด่านป้องกันทางกายภาพที่ ส้าคัญระหว่างสิ่งแวดล้อมภายนอกกับเนื้อเยื่อภายใน มีส่วนส้าคัญในการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันเฉพาะที่ (Local immune response) และปฏิกิริยาการอักเสบ

Week 1: Immunostimulator

Antigen

r

มาจากคำว่า Antibody generator คือ สารที่ทำให้เกิดแอนติบอดีจำเพาะ แต่ความหมายของแอนติเจนหมายถึง “สารใดๆ ก็ตามที่สามารถจับได้อย่างจำเพาะกับ แอนติบอดีและรีเซพเตอร์ของทีเซลล์(T cell receptor)” 

คุณสมบัติของแอนติเจน

Foreignness

Size

Chemical complexity

structure and accessibility of epitope

ปัจจัยอื่นๆ

ชนิดของแอนติเจน

T - independent Antigen

T -dependent Antigen

immunogen

r

สารที่ชักนำหรือกระตุ้นให้เกิดการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน (CMIR และ HIR)” สารเหล่านี้ต้องเป็นสารโมเลกุลใหญ่ เช่น โปรตีน โพลีแสคคาไรด์

มีลักษณะสำคัญ 2 ประการ

1. Immunogenicity

2. Specific reaction (Antigenicity)

Hapten

r

คือสารเคมีที่มีขนาดเล็ก โดยตัวมันเองไม่สามารถกระตุ้น B lymphocyte ได้ แต่ถ้าหากรวมกับโปรตีนเป็นสารประกอบเชิงซ้อน (hapten-protein complex) ก็สามารถกระตุ้น B lymphocyteได้เรียกโปรตีนนี้ว่าเป็น carrier protein

Epitope หรือ Antigenic Determinant

r

ส่วนย่อยชองantigenที่ถูกจดจำด้วย antibody, B-cell receptor หรือ T-cell receptor

1.Conformational determinant

2.Linear determinant

3.Neoantigenic determinant

Superantigens

r

สามารถกระตุ้น T lymphocyte ผ่าน TCR ได้โดยไม่ต้องมีการนำเสนอบน MHC แบบปกติ เพียงแต่อาศัยการเป็นสะพานเชื่อมโยงระหว่าง TCR และ MHC บริเวณ ภายนอกของโมเลกุล ส่งผลให้สามารถกระตุ้น T lymphocyte ได้จำนวนมาก (polyclonal) คือ ประมาณ 2-20% ของ T lymphocyte

Adjuvants

r

สารประกอบหรือโมเลกุลที่ช่วยให้แอนติเจนในวัคซีนชนิดใดชนิดหนึ่งกระตุ้นการตอบสนองของ ระบบภูมิคุ้มกันได้ดีทำให้สามรถสร้างภูมิคุ้มกันที่จำเพาะมากขึ้นและอยู่ในร่างกายได้นานขึ้น

Mitogen

r

สารที่สามารถกระตุ้นการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนของ Eukaryotic cells แบบไมโตสิส (Mitosis) ไม่มีความจำเพาะกับที่รีเซพเตอร์ใดๆ บนเซลล์