KINETICS

Kinetics คืออะไร ?

จลศาสตร์ เป็นการศึกาาเกี่ยวกับอัตราการเกิดของปฏิกิริยาโดยบอกให้ทราบว่าปฏิกิริยาเกิดขึ้นรวดเร้วเพียงใด

ประเภทของปฏิกิริยา

1. Homogeneous Reaction ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นอยู่ในสภาวะเดียวกัน

2. Heterogeneous Reaction ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นอยู่ต่างสภาวะกัน

Rate

อัตราคือ ความเข้มข้นที่เปลี่ยนแปลงไปต่อเวลาที่เปลี่ยนไป

ปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราของปฏิกิริยาเคมี

1. ธรรมชาติของสาร

2. ความเข้มข้นของสาร

3. ขนาดของอนุภาคและพื้นที่ผิวของสาร

4. อุณหภูมิ

5. ความดันและปริมาตร

6. ตัวเร่งปฏิกิริยา

การคำนวณ

Reaction : aA+bB

Main topic

Rate Law

Overall reaction คือ กฎอัตราหรือสมการอัตราแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับความเข้มข้นของสารตั้งต้น

Order of reaction m คือ อันดับ(Order)ของปฏิกิริยา เมื่อถือ A เป็นหลัก n คือ อันดับ(Order)ของปฏิกิริยา เมื่อถือ B เป็นหลัก m+n คือ อันดับรวมของปฏิกริยา

Subtopic

Reaction

ทฤษฏีการชนได้กล่าวไว้ว่าปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นก้ต่อเมื่ออนุภาคของตัวทำปฏิกิริยาเกิดการชนกันซึ่งเป็นการชนกันในทิศทางที่เหมาะสมและมีพลังงานมากพอ( Activated Energy)

Activated Energy (พลังงานก่อกัมมันต์) คือ พลังงานที่น้อยที่สุดที่จำเป็นเพื่อใช้ในการเกิดปฏิกิริยา

Activated Complex เกิดจากในระหว่างที่สารชนกันนั้นสารจะมีพลังงานสูงมากเรียกว่าสารเชิงซ้อนกำมันต์

Transition State คือพันธะระหว่างสารตั้งต้นที่ยังไม่ขั้นกันและในขณะเดียวกันก็กำลังสร้างพันธะใหม่ซึ่งจะอยู่พันธะในสภาวะที่ไม่เสถียร

Endothermic Reaction คือ ถ้าผลิตภัณฑ์มีพลังงานสูงกว่าสารตั้งต้นจะเป้นปฏิกิริยาดูดความร้อน

Main topic