Kategorien: Alle - edema - elderly - hypertension - diabetes

von Pefch ลงงาน Vor 4 Monaten

224

เคสกลุ่มผู้ป่วยหญิงไทย เสร็จ

A 76-year-old Thai woman experienced a fall at home, resulting in a closed fracture of her left intertrochanteric region. She was brought to the hospital by her son. The patient suffers from multiple chronic conditions, including hypertension, end-stage renal disease (

เคสกลุ่มผู้ป่วยหญิงไทย เสร็จ

อาการแสดงผู้ป่วยบอกว่า "มีอาการปวดศีรษะอยู่บ่อยๆ" "มีอาการอ่อนเพลีย"

การรักษา Unison enema

ได้รับยาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย (End Stage Renal Disease: ESRD)

Home medication Atorvastatin 40 mg 0.25 tab Folic acid 5mg Ferrous fumarate 200mg Furosemide Manidipine Sodium Bicarbonate Alfacalcidol

การรักษา vancomycin 1 gm q 12 hr

ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ Neutrophil 84.6 %N

ผู้ป่วยมีภาวะวิตกกังวลเนื่องจากกลัวการผ่าตัด Open Reduction Internal Fixation with Locking Hip Plate และสภาพร่างกายที่เปลี่ยนแปลง

OD:จากการสังเกตผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวล

SD: ผู้ป่วยบอกว่า ” ต้องใช้เวลาพักฟื้นนานไหม จะได้กลับบ้านเมื่อไหร่” "ผู้ป่วยบอกว่านอนไม่หลับ"

การรักษาได้รับยา Manidipine 20 mg oral 1 tab pc Atorvastatin 40 mg 0.25 tab

ผู้ป่วยปวดแผลการผ่าตัดใส่เหล็กยึดกระดูก PS : 8/10

Continue IVPCA ยาเป็น Morphine - MO 3 mg iv prn q 4 hr

Patient Controlled Analgesia (PCA) เป็นอุปกรณ์อัตโนมัติที่ออกแบบมาเพื่อให้ยาระงับปวดตามความต้องการของผู้ป่วยโดยผู้ป่วยสามารถควบคุมได้ด้วยตนเอง

การรักษา การฟอกไตทางหลอดเลือด (Hemodialysis) วันจันทร์/พฤหัสบดี

ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ BUN 95 (Hi) mg/dl, Creatinine 5.85 (Hi) mg/d

Closed fracture left intertrochanteri กระดูกหักและข้อเคลื่อนรอบข้อสะโพก

ผู้ป่วยปวดกระดูกต้นขาซ้าย PS : 8/10

Morphine - MO 3 mg iv prn q 4 hr

จอง X-Match for PRC 2 u FFT 2 u for OR

เคสกลุ่ม ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 76 ปี Dx.Closed fracture left intertrochanteri Cc.ล้ม ปวดสะโพกซ้าย 5 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล Pi.เวลา 14:00 น. ผู้ป่วยเกิดอุบัติเหตุหกล้มในบ้านบุตรชายพบผู้ป่วยจึงนำส่ง ผู้ป่วยเกิดอุบัติเหตุหกล้มในบ้านบุตรชายพบผู้ป่วยจึงนำส่งโรงพยาบาล ปฏิเสธการล้มศีรษะกระแทกพื้น

On Skin traction 2 kg.

ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใส่ skin traction
OD : - ถ่วงน้ำหนักแบบ skin traction 2 kg - ผู้ป่วยท้องผูกไม่ถ่าย 4 วัน
SD: ผู้ป่วยบอกว่า “รู้สึกตรึงๆขาบริเวณที่ on skin traction”
เป็นวิธีการรักษาโดยอาศัยแรงดึงกระดูกที่ใช้แรงตรึงของผิวหนัง
เพื่อลดความเจ็บปวด ป้องกันกระดูกเคลื่อนที่ป้องกันอันตรายจากกระดูกที่หักที่จะไปทำลายหลอดเลือดและเนื้อเยื่อโดยรอบ

การดูแล Skin traction

1.Counter - traction แรงดึงในทิศทางตรงกันข้ามกับผู้ป่วย 2. Non friction แนวแรงต้องไม่แตะหรือพิงกับขอบ เตียง ต้องแขวนลอยอิสระ 3.Continuous traction 4.แนวของการดึงต้องผ่านกระดูกที่หัก 5.จัดหาการเคลื่อนไหวต้องอยู่ในแนวแรงของน้ำหนัก

การผ่าตัดใส่เหล็กยึดกระดูก (Open Reduction Internal Fixation with Locking Hip Plate : ORIF with Locking Hip Plate) วันที่ 30|6|66

หลังผ่าตัด
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการช่วยเหลือตนเองได้น้อย เนื่องจาก กระดูกสะโพกซ้ายหัก

- ผลจาก X-ray การแตกหักของกระดูกสะโพกด้านซ้าย - ผู้ป่วยได้รับการช่วยเหลือจากผู้ดูแล เช่น การทำความสะอาดร่างกายให้ผู้ป่วย เปลี่ยนเสื้อผ้า เปลี่ยนแพมเพิส

SD: - ผู้ป่วยบอกว่า “ขยับตัวได้ยาก ลุกไปไหนก็ไม่ได้”

ก่อนผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาลก่อนการผ่าตัด

เซ็นใบยินยอมก่อนการผ่าตัด

จองเลือด

แจ้งประวัติยาที่ใช้ประจำ และการแพ้ยา

ถอดฟันปลอม

ถอดของมีค่าและเครื่องประดับ

ทำความสะอาดร่างกาย

งดอาหารและเครื่องดื่ม

ประเมินความพร้อมของร่างกาย

ผู้ป่วยและญาติขาดความรู้การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด Open Reduction Internal Fixation with Locking Hip Plate

OD: ผู้ป่วยและญาติตอบคำถามเกี่ยวกับการเตรียมตัวก่อนผ่าและหลังผ่า

SD: ผู้ป่วยบอกว่าไม่เคยผ่าตัดมาก่อนไม่รู้ว่าจะต้องทำอย่างไรบ้าง

U/D : DM > ไมมียา HT > Manidipine 20 ปี 1x1 ESRD > on H/D รพ.กรุงเทพอุดร ทุกวันอังคาร,ศุกร์ Parkinson >

โรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย (End Stage Renal Disease: ESRD)
อาการเเละอาการเเสดงของผู้ป่วยเกี่ยวกับ โรค End-Stage Renal Disease: (ESRD) ผิวหนังบวมขาทั้ง 2 ข้างมีอาการบวม ขาซ้ายบวมเล็กน้อย กดบุ๋ม = 3+ แต่ขาและเท้า ด้านขวามีอาการบวม

น้ำและเกลือแร่ถูกขับออกทางปัสสาวะ

หน่อยไต ถูกทำลายจะทำให้ความสามารถในการขจัดของเสียออกจากเลือดลดลง

ส่งผลให้เกิด ภาวะน้ำเกิน

ผู้ป่วยเกิดภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลต์ในร่างกาย

ผู้ป่วยมีภาวะ Electrolyte imbalance

SD : ผู้ป่วยบอกว่า “ปวดศรีษะและคลื่นไส้”

OD: - Pitting edema 3+ - BUN 115 mg/dl (9 – 20) - Creatinine 7.29 mg/dl (0.73-1.88) - GFR 14 (>90) - CKD stage 5 - Potassium 5.3 mEq/L (ค่าปกติ 3.5-5.1 mEq/L) - Sodium 133 mmol/L (135-155) - calcium 7.3 mg/dL (8 – 11) - I/O intake 350ml | Output 100

ผู้ป่วยมีภาวะคั่งค้างของเสียในร่างกาย เนื่องจากมีภาวะไตวาย state 5

SD: ผู้ป่วยบอกว่า “คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร”

OD: - Creatinine: 5.10 mg/dL - I/O intake 350ml | Output 100 - eGFR 7.7 mL/min - CKD stage 5 ไตเรื้อรังระยะที่ 1 (eGFR) ปกติมากกว่า 90 มล./นาที ไตเรื้อรังระยะที่ 2 eGFR) 60 – 89 มล./นาที/ ไตเรื้อรังระยะที่ 3 (eGFR) 30 – 59 มล./นาที/ ไตเรื้อรังระยะที่ 4 (eGFR)15 – 29 มล./นาที ไตเรื้อรังระยะที่ 5 (eGFR)น้อยกว่า 15 มล./นาที - มีภาวะบวมลดลงกดบุ๋ม 3+ คืนตัว 2 นาที

ความดันโลหิตสูง (Hypertension : HT)
ปัจจัยที่ส่งเสริม -ผู้ปุวยเป็นผู้สูงอายุ อายุ 65 ปี -ผู้ปุวยมักทานอาหารรสจัดเป็นประจํา -ผู้ปุวยมีภาวะดื้ออินซูลินหรือเป็นเบาหวาน

ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจาก Hypertension

โรคประจำตัวเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 (Type 2 Diabetes Mellitus: T2DM :DM)
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะอันตรายจากHyperglycemia/ Hypoglycemia เนื่องจากตับอ่อนสูญเสียหน้าที่

SD:ผู้ป่วยบอกว่า”เหนื่อยง่าย”

OD: มีโรคประจำตัวเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 (Type 2 Diabetes Mellitus: T2DM) (28/06/66) : DTX 124 mg% (7:00น.) (30/06/66) : DTX 124 mg% (7:00น.) (1/07/66) : DTX 106 mg% (7:00น.)

เกิดอุบัติเหตุหกล้ม ปวดต้นขา

X-ray Flim มีการหักของกระดูก Femur ที่บริเวณ Intertrochanteric ที่บริเวณระหว่าง greater และ lesser trochanter
เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหว

Dx.Closed fracture left intertrochanteri

อาการและอาการแสดง : ปวดและขาผิดรูป
เมื่อกระดูกหักทำให้เยื้อบริเวณโดยรอบได้รับการบาดเจ็บ

กระตุ้นปลายประสาทรับความรู้สึกปวด

แปลสัญญาณ

ปวด

ผู้ป่วยปวดบริเวณการแตกหักของกระดูกต้นขาด้านซ้าย closed fracture intertrochanteric

SD: ผู้ป่วยบอกว่า “ปวดแผลมาก ปวดตื้อๆ รู้ตำแหน่งที่ปวด”