Categorías: Todo - inflammation - diagnostic - complement

por สตรีรัตน์ นิลวัล hace 5 años

318

Allergy and Hypersensitivity Reaction

Hypersensitivity reactions are categorized into four types, each with distinct diagnostic methods and clinical implications. Type I hypersensitivity involves immediate allergic reactions mediated by IgE antibodies, often diagnosed through skin tests and assessing IgE levels using methods like ELISA and CLIA.

Allergy and Hypersensitivity Reaction

รับเลือดหมู่ A / B / AB

มี A- Antigen หรือ B-Antigen

IgM จับกับ
A-Antigen หรือ B-Antigen

Complement

Allergy and Hypersensitivity Reaction

Clinical aspect of Hypersensitivity Reaction Type III

การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเซลล์หรือโมเลกุลที่เปลี่ยนแปลงไปในกระบวนการตอบสนอง
การตรวจหาแอนติบอดีที่มีความจำเพาะต่อแอนติเจนบางขนิด
Arthus reaction
เกิดพยาธิสภาพการอักเสบของหลอดเลือด
เกิดจากแอนติเจนในระบบไหลเวียนจับกับ IgG และมีการกระตุ้นให้สร้างแอนติบอดีในระดับ Antibody excess เกิดการจับกลุ่มเป็น Intermediate immune complex ใกล้ผนังหลอดเลือด
Rheumatic fever
ตอบสนองต่อ Group A streptococci

ทำให้เกิดพยาธิสภาพ

กรวยไตอักเสบ

ข้ออักเสบ

เกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ

เกิดกระบวนการกระตุ้นการทำงานของระบบ Complement และกระบวนการ ADCC ของ Neutrophil

เมื่อมีการติดเชื้อ จะเกิดการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีต่อเชื้อนั้น โดยแอนติบอดีบางส่วนสามารถเกิด Cross-reaction กับแอนติเจนที่เนื้อเยื่อตัวเอง

ผนังเซลล์ของเชื้อมี epitope ซึ่งมีความเป็นแอนติเจนคล้ายคลึงกับเเอนติเจนของกล้ามเนื้อหัวใจ กรดูกอ่อน และส่วน Glomerular basement membrane

Serum Sickness
ผู้ป่วยมีอาการ

Skin eruption

Lymphadenopathy

Arthralgia

Fever

เกิดพยาธิสภาพของการอักเสบ

Systemic inflammation

Local inflammation

เกิดเป็น Immune complex

Large complex

เกิดการทับถมตามเนื้อเยื่อและบริเวณหลอดเลือดฝอยเกิดการกระตุ้น Complement และกระบวนการ ADCC ของ Neutrophil

Intermediate complex

Small complex

Phagocytosis

กระตุ้นการสร้างแอนติบอดี โดยระดัยแอนติบอดีในร่างกายมี 3 ระดับ

Antibody excess (Prozone)

Equivalence of Ag-Ab (Equivalent zone)

Antigen excess (Post zone)

พบในกระบวนการให้เซรุ่มเพื่อกำจัด Exotoxin ของ Clostedium และCorynebacterium ด้วยกระบวนการ NeutraliZation
เป็นปฏิกิริยาการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันต่อการได้รับเซรุ่มจากสิ่งมีชีวิตอื่น

Clinical aspect of type lV hypersensitivity reaction

การตรวจวินิจฉัย
Tuberculin test
การตรวจหา T lymphocytes โดยวิธี ELISpot
การเพาะเลี้ยง
ตรวจไข่พยาธิ
Granulomatous hypersensitivity
เป็นปฏิกิริยาภูมิไวเกินที่เกิดจากการคงอยู่ของ Antigen ที่ร่างกายไม่สามารถกำจัดได้ โดยจะเกิดพยาธิสภาพการอักเสบแบบเรื้อรัง

โดย Macrophage จะมารวมกันบริเวณนั้น เกิดเป็น epithelioid cell และมี mononuclear สะสมจำนวนมาก โดยจะป้องกันการแพร่กระจาย ของสิ่งเเปลกปลอมไปยังเนื้อเยื่ออื่นๆได้

Tuber culin-type Hypersensitivity
Tuberculin test เป็นการทดสอการตอบสนองต่อเชื่อ TB หากผู้ได้สาร tuberculin มีพยาธิสภาพแบบ Tuberculin-type Hypersensitivity ภายใน 48-72 ชั่วโมง แสดงว่าสัมผัสเชื้อมาหรืออาจจะได้รับจากการฉีกวัคซีน BCG มาก่อน
เป็นปฏิกิริยาภูมิไวที่ก่อให้เกิด cutaneous inflammatory reaction ซึ่งมีลักษณะผิวหนังบวม โดยพยาธิสภาพนี้มีลักษณะเหมือนกับการได้รับสาร tuberculin ซึ่งเป็น Lipoprotein antigen ที่สกัดได้จากเชื่อ Mycobacterium tuberculosis
Contact sensitivity
เป็นปฏิกิริยาภูมิไวเกินที่เกิดจากผิวหนังสัมผัสกับสาร allergen หรือ haptens บางชนิด โดยจะซึมเข้าผิวหนังและจับกับโปรตีน จะทำลายสิ่งแปลกปลอมโดยกระบวนการ Phagocytosis โดย langerhano cell

จากนั้นจึงเกิดกระบวการ Antigen processing และ Antigen presentation ให้กับ T lymphocytes เกิดDifferentiation ไปเป็นTH1 cell และกระตุ้นการทำงานขอ Cell-mediated immune response แสดงพยาธิสภาพเฉพาะ ได้แก่ blister formation ระหว่างชั้น epithelial, spongiosis และมีกลุ่ม Mononuclear cell สะสมในชั้น Dermis

Clinical aspect of Hypersensitivity Reaction type II

Hemolytic Disease of Fetus and Newborn (HDFN)
For example

เเม่ Rh -

ตั้งครรภ์บุตรคนเเรก

บุตร Rh +

เเม่สร้าง Ig M

ตั้งครรภ์บุตรคนที่สอง

Isotype switching

Ig G

ไปจับกับRBC บุตรคนที่ 2

บุตรเสียชีวิต

ผ่านรกไม่ได้ ลูกคนเเรกปลอดภัย

นปฏิกิริยาที่เกิดเนื่องมาจากมารดาและบุตรในครรภ์มี Rhesus (Rh) Incompatibility

D antigen

Transfusion Reaction
เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากการให้เลือดผิดหมู่

หมู่เลือดระบบ ABO (ABO- incompatible blood)

คนหมู่เลือดO

มี IgM

เกิดปฏิกิริยากับ

B-Antigen

A-Antigen

Drug-induce Reaction
ไวเกินที่เกิดจากยาบางชนิดมีคุณสมบัติเป็น Haptens

จับกับโปรตีนบนผิว เซลล์หรือเกล็ดเลือด (Platelets)

การสร้าง IgM ขึ้น

กระตุ้น Phagocytosis

ระบบ Complement ทาให้เกิด cell lysis กระตุ้น C3b ทำหน้าที่เป็น Opsonin

เช่น

ยาในกลุ่ม chloramphenicol จับกับ granulocytes จะทำให้เกิดเป็น agranulocytosis

ยาในกลุ่ม phenacetin และ chlorpromazine จับกับเม็ดเลือดแดงจะทำให้เกิดเป็น Hemolytic anemia

จับกับเกล็ดเลือดจะทาให้เกิดเป็น Thrombocytopenia purpura

การตรวจเพื่อวินิจฉัยภาวะภูมิคุ้มกันไวเกิน ทางห้องปฏิบัติการวิทยาภูมิคุ้มกันคลิกนิก

การทดสอบเพื่อวินิจฉัยภูมิไวเกินชนิดที่ 4
การสร้าง Mononuclear cell ในระบบไหลเวียนเลือด
การทดสอบเพื่อวินิจฉัยภูมิไวเกินนิดที่ 3
การตรวจหาโมเลกุล Ag-Ab complex
การตรวจหา Autoantibody ที่จำเพาะต่อโมเลกุลต่างๆของโรค
การทดสอบเพื่อวินิจฉัยภูมิไวเกินชนิดที่ 2
2.7 การตรวจการทำงานของไต
2,6 การตรวจระดับ Billirubin
2.5 การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง
2.4 การตรวจหาการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเม็ดเลือดขาวที่ทำหน้าที่เป็น Effecto Phase
2.3 การตรวจหาปริมาณโปรตีนชนิดต่างๆในน้ำเลือดที่เกี่ยวข้องกับการกระตุ้น Complement
2.2 การทดสอบหา Specific Antibody : ทดสอบหาแอติบอดีที่มีความจำเพาะต่อเเอนติเจน
2.1 การทดสอบหา Sensitized antibody ในกลุ่มผู้ที่ได้เลือดผิดหมู่ และทารกที่คลอดด้วยภาวะ HDFN
การทดสอบเพื่อวินิจฉัยภูมิไวเกินชนิดที่ 1
การทดสอบหาระดับ IgE

CLIA

Fluorescence

ELISA

ทดสอบทางผิวหนัง : ทดสอบการตอบสนองของ Mast cell/Basophil ต่อสาร Allergen
ตรวจการเปลี่ยนแปลงปริมาณเม็ดเลือดขาว

Clinical aspect of Hypersensitivity Reaction type I

การตวจวินิจฉัยปฏิกิริยาภูมิแพ้ สามารถทำได้โดยการซักถามอาการผู้ป่วย หรือแปลผลากการทดสอบ Skin test โดยให้ผู้ป่วยสัมผัสกับ allergen ชนิดต่างๆ ผ่านการสะกิดผิวหนังให้เกิดรอยถลอก หากมี allergen-specific IgE-sensitized mast cell จะเกิดการตอบสนองแบบ Wheal-Flare reaction
📍Primary mediators ที่หลั่งปฏิกิริยา Degranulation ของ Mast cell หรือ Basophil เมื่อมี Allergen-specific IgE ที่จับกับ Allergen-specific IgE-sensitized mast cell และเกิดการเชื่อมโยงตั้งแต่ 2 โมเลกุลขึ้นไป ทำให้เกิด Local inflammation หรืออาจรุนแรงเป็น systenic inflammatiom โดยเกิด Anaphylaxis จาก 📍Secondary mediators
📌ใช้ Atopic disorder แทนกลุ่มอาการที่มีพยาธิสภาพมาจากภูมิไวเกินชนิดนี้ ได้แก่

👃🏻Asthma หรือ หอบหืด เป็นลักษณะ Local anaphylaxis

👶🏻Atopic Dermatitis เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นบ่อยในเด็ก

🦠Allergic Rhinitis หรือ Hay fever หรือ ไข้ละอองฟาง ซึ่งเกิดจาก inhalant allergens

🥮Food Allergies ซึ่งเกิดจาก ingesting allergens

Allergic reaction หรือ ปฏิกิริยาภูมิแพ้ ปฏิกิริยาที่มีการตอบสนองของร่างกายต่อแอนติเจนบางชนิด เช่น เกสรพืช สปอร์เชื้อรา เป็นต้น มี epitope ที่คล้ายกัน ไม่สามารถทำลายเนื้อเยื่อได้โดยตรง