カテゴリー 全て - database - search - information - subscription

によって yanika ratjaran 5年前.

245

การสืบค้นสารสนเทศและความรู้

Online databases offer extensive resources for information retrieval. Users can search these databases through various methods, including menu-driven searches and command-based searches.

การสืบค้นสารสนเทศและความรู้

การสืบค้นสารสนเทศและความรู้

องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)

3.โปรแกรมค้นข้อมูล (Search Engine Software หรือ Query Processor) ทำหน้าที่เปรียบเทียบความเกี่ยวข้องระหว่างเว็บไซต์และความต้องการของผู้สืบค้นว่ามีความเกี่ยวข้องมากน้อยเพียงใด จากนั้นจะจัดลำดับความเกี่ยวข้องของเว็บต่าง ๆออกมาแสดงผล
2.ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog ซึ่งเป็นฐานข้อมูลทำหน้าที่รวบรวมคำ และตำแหน่งทุกๆ เพจที่ตัวสำรวจรวบรวมมาได้
1.ตัวสารวจหรือรวบรวมข้อมูล (Spider หรือ Crawler หรือ Robot) เป็นซอฟต์แวร์สำหรับสำรวจเว็บ โดยจะทำหน้าที่ตระเวณไปยังเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อทำการรวบรวมสารสนเทศ และส่งกลับมายังดรรชนีหรือฐานข้อมูลเพื่อท าการประมวลผล

การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์(OPAC)

ความหมาย เป็นรูปแบบหนึ่งของเครื่องมือช่วยค้นทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศ
ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC

ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index) ของบทความในวารสารภาษาไทย ประกอบด้วย

หัวเรื่อง (Subject)

เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN)

ชื่อวารสาร (Journal)

สถานที่ (Location)

ชื่อห้องสมุดที่บอกรับวารสารชื่อนั้นๆ (Library that have this journal)

ปี(Year)

ชื่อเรื่อง (Title)

ชื่อผู้แต่ง (Author)

ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description) ประกอบด้วย

เลขมาตรฐาน(ISBN)

หัวเรื่อง(Subject)

สถานที่(Location)

หมายเหตุ(Note)

รูปเล่ม(Description)

เลขเรียกหนังสือ(Call number)

สถานภาพ(Status)

พิมพลักษณ์(Imprint)

ชื่อเรื่อง(Title)

ชื่อผู้แต่ง(Author)

วิธีการสืบค้นโดบใช้ทางเลือกต่างๆใน OPAC

ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือก เช่น เลือกทางเลือกผู้แต่ง พิมพ์ชื่อผู้แต่ง

หลักของ OPAC เลือกรายการที่ต้องการจะใช้เป็นทางเลือกในการสืบค้นจากเมนู เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เป็นศึกษา

เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต

5. เทคนิคอื่นๆ ได้แก่
Subtopic
ควรใช้คำที่หลากหลายและไม่ควรใช้คำที่ค้นหาเกิน 32 คำ ซึ่งการใช้คำที่ หลากหลายเพื่อค้นหาจะช่วยให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า เนื่องจากการกำหนดคำที่ หลากหลายทำให้สามารถหาข้อมูลที่ใกล้เคียงที่สุดได้
เทคนิคการกรองสิ่งที่ค้นหา (SafeSearch Filtering) เทคนิคนี้จะมีใช้สำหรับ Search Engine บางตัว
เทคนิคการหานิยามหรือความหมายของคำ (Definition) โดยใช้คำว่า define: ตามด้วยคำที่ต้องการทราบความหมาย
เทคนิคค้นหาช่วงชุดของตัวเลข (Number range) ด้วยเครื่องหมาย ..
เทคนิคการค้นกลุ่มคำหรือคำที่ไม่แน่ใจด้วยเครื่องหมาย * (Wildcard
เทคนิคการค้นหาคำพ้องความหมาย (Synonyms) ด้วยเครื่องหมาย ~
เทคนิคการค้นด้วยเครื่องหมายคำพูด “…..” (Exact phrased search)
4.เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น สามารถทำได้ 2 ลักษณะ
สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลกำกับลงในประโยคการค้น เช่น title:nba
สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu)
3. เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง
BEFORE หมายถึงให้คำค้นอยู่ห่างกันในระยะ 25 คำ โดยต้องอยู่ตามลำดับที่ กำหนดเท่านั้น
FAR หมายถึง ให้คำค้นอยู่ห่างกันได้ 25 คำ หรือมากกว่านั้น
NEAR หมายถึง ให้คำที่ค้นอยู่ใกล้เคียงกันในระยะ 25 คำ สลับที่ได้
ADJ หมายถึง ให้คำที่ค้นอยู่ใกล้กัน สลับลำดับคำได้
2.เทคนิคการตัดคำสามารถทำได้ 2 ลักษณะ
การสืบค้นในลักษณะของ Stemming
การใช้เครื่องกลไกส่วนใหญ่ใช้เครื่องหมาย * (asterisk)
1.เทคนิคตรรกบูลลีน แบ่งได้ออกเป็น 3 ลักษณะ
การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ – (Minus)
การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu)
การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น

ฐานข้อมูลออนไลน์(Online Database)

การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์
5.เลือกรายการที่ตรงกับความต้องการและบันทึกผลข้อมูล เพื่อให้ระบบทราบว่า ต้องการรายการใดบ้างในพิมพ์ผลออกทางกระดาษ
4.แสดงผลการสืบค้น เมื่อสืบค้นจนได้ปริมาณรายการที่พอเพียงกับความต้องการแล้วสามารถแสดงผลรายการที่สืบค้นได้ 3 รูปแบบใหญ่คือ

3.การแสดงผลแบบอิสระแสดงผลที่กeหนดเขตข้อมูลในการแสดงผลด้วย ตัวเอง

2.การแสดงผลแบบย่อ แสดงผลเฉพาะรายการทางบรรณานุกรมเท่านั้น

1.การแสดงผลแบบเต็มรูปแบบ แสดงผลทุกเขตข้อมูลที่รายการนั้นมีอยู่

3.ลงมือสืบค้น โดยทั่วไปสามารถสืบค้นได้2 วิธี คือ การใช้เมนูในการสืบค้น และการสืบค้นโดยการพิมพ์คำสั่งการสืบค้นโดยใช้เมนูสามารถทำได้ง่าย ไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับฐานข้อมูลที่สืบค้นมากนัก แต่การสืบค้นโดยใช้คำสั่ง
2.เลือกค้นจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม ทั้งนี้ต้องทราบว่าเรื่องที่สืบค้นนั้นเป็นเรื่องในสาขาใด เลือกฐานข้อมูลให้ตรงหรือใกล้เคียงกับสาขาวิชาที่สืบค้น เพื่อช่วยให้ได้ผลการสืบค้นที่ตรงกับความต้องการ
1.วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้นและกำหนดคำสำคัญเพื่อใช้ในการค้น วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้น
ฐานข้อมูลทดลองใช้
ฐานข้อมูลลักษณะนี้เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนำมาทดลองให้บริการกับผู้ใช้ก่อน ก่อนที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศจะตัดสินใจซื้อหรือสมัครเป็นสมาชิกของฐานข้อมูลนั้นจริงๆ
ฐานข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล ThaiLIS (Thai Library Integrated System)
เป็นฐานข้อมูลที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ โครงการ Thai Library Integrated System เช่าใช้ฐานข้อมูลวิชาการโดยมีสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับผิดชอบค่าใช้จ่าย
ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก
ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ บอกรับหรือซื้อฐานข้อมูลนั้นมาให้บริการกับผู้ใช้โดยมีการจำกัดระยะเวลาในการใช้
ผู้ใช้บริการยังสามารถดาวน์โหลดหรือพิมพ์ข้อมูลได้ในทันที
เป็นแหล่งสารสนเทศที่มีขนาดใหญ่และ ขอบเขตกว้างขวาง

การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต

โปรแกรมทำหน้าที่ค้นหาสารสนเทศบนเวิล์ดไวด์เว็บซึ่งมี 2 ประเภท
2.เครื่องมือสืบค้น (Search engine)

Search Engine ที่มีผู้ใช้อย่างแพร่หลาย 3 อันดับแรกของโลก

Ask

MSN Live Search

Google

เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่อาศัยการทำงานของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น โดแต่ละตัวได้รับการพัฒนาจากบุคคลหลายๆ หน่วยงาน มีผลให้ Search Engine แต่ละตัวมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ทั้งในด้านฐานข้อมูลที่ครอบคลุมและวิธีการทำดรรชนีช่วยค้น

1.นามานุกรม (Web Directories)

ตัวอย่างของเว็บที่เป็นนามานุกรมและเป็นที่นิยมใช้

Librarian’s Index Internet

Business.com

Starting Point

Dmoz

Yahoo

ทำหน้าที่คล้ายกับบัตรรายการของห้องสมุด สามารถการสืบค้นท าได้โดยเลือกกลุ่มสาขาวิชาที่ตรงกับเรื่องที่ต้องการ และเลือกเรื่องต่างๆ ตามหัวข้อย่อยที่กลไกรวบรวมไว้

เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต และคัดแยกสารสนเทศเหล่านั้นออกเป็นกลุ่ม ตามสาขาวิชาหรือตามหลักเกณฑ์ที่ผู้จัดทำกำหนดขึ้น

ลักษณะเนื้อหาที่มีให้บริการใน WWW
8.ข้อมูลทางด้านบันเทิง ทีวี เกม ภาพยนตร์ เพลง และอื่นๆ
7.บทความที่เลือกสรรเฉพาะ (Selected Article Reprints)
6.การแถลงข่าวแก่สื่อมวลชน (Press Release)
5.ข่าวสารข้อมูลทางราชการ (Governmental Information)
4.ข่าวสารทันสมัย (Current News)
3.การจัดแบ่งหมวดหมู่ของสิ่งพิมพ์ในสถาบันบริการสารสนเทศ (Library Catalog)
2.นามานุกรมของพนักงานของแต่ละหน่วยงาน (Staff Directory)
1.ข้อมูลการตลาดสำหรับสินค้าและผลิตภัณฑ์รวมถึงสื่อโฆษณาต่างๆ (Product Information)