类别 全部 - innovation - education - interaction - resources

作者:Thada CHIMMAI 4 年以前

327

thada chimmai

The rise of Education 4.0 emphasizes the integration of innovative learning methods and the adoption of advanced technologies to enhance educational outcomes. Key theories such as Behaviorism, Constructivism, Cognitivism, and Connectivism play crucial roles in shaping modern educational practices.

thada chimmai

นวัตกรรมการศึกษากับการเรียนรู้ในยุค 4.0

ตัวอย่างนวัตกรรมการศึกษา

Kahoot
E - Learning
Web - Base Instruction : WBI
Games Based Learning หรือ GBL
อินเทอร์แอคทีฟมัลติมีเดีย (Interactive Multimedia)
สื่อการเรียนรู้ AR (Augmented Reality)
MOOCs
E-Book
Virtual Reality (VR)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3D Printing for Education
ห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom)
การศึกษาทางไกล (Distance Learning)
Cloud Computing
ชุดการสอน : Learning Package

ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมการศึกษา

ทฤษฎีคอนเนคติวิสต์ (Connectivism)
MOOC (Massive Open Online Course)

เช่น Coursera, edX, Udacity, FutureLearn, NovoEd, Iversity, Udacity

เข้าถึงการศึกษาได้จากทั่วโลก ไม่มีค่าใช้จ่าย

รายวิชาออนไลน์

Open Educational Resources (OER)

เช่น MIT OpenCourseWare ,Kahn Academy

แหล่งจัดเก็บรวบรวมสื่อออนไลน์ ไม่เสียค่าใช้จ่าย

ทรัพยากรการศึกษาระบบเปิด

Social Media for Learning

ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการสร้างและถ่ายทอดเนื้อหา

สังคมออนไลน์เพื่อการเรียนรู้

ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism)
Scratch

เครื่องมือเล่าเรื่องทางดิจิทัล

Webquest

บทเรียนการแสวงรู้บนเว็บ

E-Learning

การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้

พัฒนาเนื้อหา

เป็นวิวัฒนาการของการเรียนบนเว็บ (WBI)

ทฤษฎีปัญญานิยม (Cognitivism)
การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction : WBI)

ระบบเปิด เชื่อมโยงเนื้อหา ผู้คน ได้ทั่วโลก

ผู้เรียนเรียนจากที่ใดก็ได้

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction :CAI)

มีการเสริมแรงโดยให้คะแนนและผลตอบกลับทันที

ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ด้วยตนเอง

มีสิ่งเร้า เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว

มีการจัดเรียงเนื้อหา ตอบสนองความแตกต่างบุคคล

ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
บทเรียนโปรแกรม

สามารถทำซ้ำได้จนกว่าจะเข้าใจ

เสริมแรงด้วยการเฉลยทุกครั้ง และมีคำชม

แบบลำดับความสามารถจากง่ายไปยาก

นวัตกรรมการศึกษา

ความสำคัญของนวัตกรรมการศึกษา
10. ลดช่องว่าง เพิ่มความเท่าเทียมโอกาสการศึกษา
9. เกิดการปรับเปลี่ยนด้านการศึกษา
8. ประเมินผู้เรียนได้อย่างสะดวก
7. เพิ่มศักยภาพผู้เรียนด้านดิจิทัล
6. ช่วยผู้เรียนพัฒนาทักษะต่างๆ
5. ผู้เรียนสร้างเครือข่ายการเรียนรู้
4. ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้
3. เพิ่มคุณค่า แก้ปัญหาด้านข้อจำกัดการเรียนรู้
2. ผู้เรียนเรียนรู้ได้ดี เข้าใจเนื้อหาได้ดียิ่งขึ้น
1. เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพบรรลุเป้าหมาย
วิวัฒนาการของนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
ระยะที่เจ็ด Next-Generation Digital Learning Platform
ระยะที่หก MOOC, Mobile First and Gamification
ระยะที่ห้า Social Media for Learning
ระยะที่สี่ e-Learning
ระยะที่สาม Web-Based Instruction การสอนผ่านเว็บ
ระยะที่สอง Computer-Assisted Instruction
ระยะที่หนึ่ง Programmed Instruction, Drill and Practice
ขอบเขต
2. ใหม่แบบที่เกิดขึ้นหลังจากการดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น
1. ใหม่แบบที่ไม่เคยมีขึ้นมาก่อน
ความพร้อมของการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา
คำนึงถึงบริบทและความพร้อมขององค์กร

บุคลากร

งบประมาณ

สถานที่

อุปกรณ์

ความหมาย
สามารถอยู่ทั้งในรูปแบบที่เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศและไม่ใช่เทคโนโลยีสารสนเทศก็ได้
ถ้านวัตกรรมการศึกษาได้รับการออกแบบอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพ ก็จะทำให้ผู้เรียนสามารถทำความเข้าใจ และจดจำเนื้อหาได้ดียิ่งขึ้น
รูปแบบใหม่ๆ ของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาการศึกษา เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ภายใต้ทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำกัด

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการสอนยุคใหม่

รูปแบบการเรียนรู้แนวใหม่ (New models of Learning)
3. ผู้เรียนเป็นผู้นำ/ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner-Led)

ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้จากแหล่งทรัพยากร

ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือผ่านกิจกรรมต่างๆ

2. สังคม/ชุมชนนำ (Community-Led)

ผู้เรียนสืบค้นรวบรวมความรู้จากแหล่งต่างๆ

ผู้สอนสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้

Constructivism

1. การเรียนแบบครูนำ (Teacher-Led)

เมื่อเรียนไปนานๆอาจเบื่อหน่าย

โต้ตอบระหว่างกันน้อย

ครูเป็นผู้ป้อนเนื้อหา ผู้เรียนรับเนื้อหา

คุณลักษณะของผู้สอนในศตวรรษที่ 21
9. Critical Thinking การคิดเชิงวิพากษ์
8. Computer ใช้ ICT จัดการเรียนการสอน
7. Creativity มีความคิดสร้างสรรค์
6. Communication มีทักษะในการสื่อสาร
5. Collaboration จัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นกลุ่ม
4. Connectivity เน้นการเชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อม
3. Constructionist สร้างความรู้
2. Caring ใส่ใจผู้เรียน
1. Content เชี่ยวชาญเนื้อหา
คุณลักษณะจำเป็น 8 ประการ สำหรับผู้เรียนยุค Gen Z
8. ความสนใจในวัฒนธรรม (Engaged with Cultures)
7. ทักษะในด้านการใช้ภาษาสากล (Second Language Skills)
6. ทักษะพื้นฐานด้านดิจิทัล (Digital Literacy)
5. ความกระตือรือร้น (Active Learners)
4. ทักษะในการสืบเสาะค้นหา (Enquirers)
3. ทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Collaborators)
2. ทักษะด้านการคิด (Thinking Skills)
1. ความรับผิดชอบและพึ่งพาตนเองในการเรียนรู้ (Autonomous Learning)
ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
มักให้ความสนใจกับการเรียนรู้จาก เครือข่ายหรือจากชุมชน ทั้งรอบตัวและออนไลน์ โดยเฉพาะกลุ่มคนที่มีความสนใจเดียวกันมากกว่าการเรียนรู้ จากครูผู้สอนแต่เพียงอย่างเดียว
โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต
Gen Z
ความคาดหวังต่อผู้เรียน
4. ทักษะชีวิตการทำงาน

ความเป็นผู้นำ

ความสามารถในการปรับตัว

ความยืดหยุ่น

3. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม

ทักษะการทำงานร่วมกัน (Collaboration)

ทักษะการสื่อสาร (Communication)

ความคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking)

ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creativity)

2. แนวคิดสำคัญ

ความรู้การเป็นผู้ประกอบการ

ความรู้พื้นฐานด้านการเงิน เศรษฐกิจ

จิตสำนึกต่อโลก

1. วิชาแกน

การศึกษา 4.0

Disruptive Technology
เทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้นและเข้ามาแทนที่เทคโนโลยีที่เคยเป็นที่ยอมรับในสังคมส่งผลให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ขึ้นมาแทนที่อุตสาหกรรมเดิม
การศึกษา 4.0 สำหรับไทย
ทักษะ 8 Cs

Compassion ความเห็นอกเห็นใจและการเอาใจเขามาใส่ใจเรา

Career and Learning Skills ทักษะด้านการงานอาชีพและการเรียนรู้

Computing and ICT Literacy การคำนวณและการรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ

Cross-Cultural Understanding ความเข้าใจข้ามวัฒนธรรม

Communication, Information and Media Literacy ทักษะการสื่อสาร ทักษะการรู้สารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ

Collaboration, Teamwork and Leadership ทักษะการทำงานร่วมกันผู้อื่นการทำงาน เป็นทีมและการเป็นผู้นำ

Critical Thinking and Problem Solving ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และแก้ปัญหา

Creative and Innovation ทักษะการคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรม

ทักษะ 3 Rs

Arithmetic การคำนวณ

Write การเขียน

Read การอ่าน

การศึกษา 4.0 : การศึกษาเพื่อการเพิ่มศักยภาพในการผลิตนวัตกรรม (Empowering Education to Produce Innovation)
การศึกษา 3.0 : การบริโภคและการสร้างองค์ความรู้ (Consuming and Producing Knowledge)
การศึกษา 2.0 : การเรียนรู้ที่เพิ่มศักยภาพโดยอินเทอร์เน็ต (Internet-enabled Learning)
การศึกษา 1.0 : ช่วงศตวรรษแห่งการเรียนรู้ที่เน้นการท่องจำ (Memorization Era)
การปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ (Learning Transformation)
2. ผู้เรียนยุคใหม่
1. วิธีคิดแบบเดิมเกี่ยวกับวิธีจัดการศึกษา
Education Disruption
3. รูปแบบใหม่ของการศึกษา (MOOC)
2. เทคโนโลยีดิจิทัลขั้นสูง

เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์

เทคโนโลยีหุ่นยนต์

1. อัตราการการเกิดใหม่ของเด็กทั่วโลกมีจำนวนที่น้อยลง